เมื่อใช้งาน fpdf ครั้งแรกจะไม่สามารถใช้ภาษาไทยได้ เนื่องจาก Class fpdf ไม่ได้เตรียม font ที่รองรับภาษาไทยไว้
ดังนั้นเราจะต้องทำการติดตั้ง font เพิ่มเติมเข้า ซึ่งสามารถโหลดได้จาก ที่นี่ 
1)  ให้ขยายไฟล์ fpdf_fontThai.zip ออกจะได้ไฟล์ที่มีนามสกุล .php และ .z
2) ทำการ Copy ไฟล์ทั้งหมดไปไว้ที่ Folder font
3)  font ที่เราเพิ่มเข้าไปมีชื่อเรียกและคุณสมบัติดังต่อไปนี้
N = Normal ตัวอักษรปกติ เวลาใช้ให้ใส่ค่าว่าง
ฺB = Bold ตัวอักษรหนา
I = Italic ตัวอักษรเอียง
IB = Italic Bold or Bold Italic ตัวอักษรหนาเอียง
  • AngsanaNew (N,B,I,IB)
  • CordiaNew (N,B,I,IB)
  • Tahoma (N,B)
  • BrowalliaNew (N,B,I,IB)
  • KoHmu (N)
  • KoHmu2 (N)
  • KoHmu3 (N)
  • MicrosoftSansSerif (N)
  • PLE_Cara (N)
  • PLE_Care (N,B)
  • PLE_Joy (N)
  • PLE_Tom (N,B)
  • PLE_TomOutline (N)
  • PLE_TomWide (N)
  • DilleniaUPC (N,B,I,IB)
  • EucrosiaUPC (N,B,I,IB)
  • FreesiaUPC (N,B,I,IB)
  • IrisUPC (N,B,I,IB)
  • JasmineUPC (N,B,I,IB)
  • KodchiangUPC (N,B,I,IB)
  • LilyUPC (N,B,I,IB)
4) ทดสอบผลการทำงานจาก font ที่เพิ่มเข้าไปโดยสร้างไฟล์ชื่อ exam_2.php และใส่ Code ดังต่อไปนี้
require(‘fpdf.php’);
$pdf=new FPDF();
$pdf->AddPage();
/*
เพิ่ม Font เข้ามาเท่าที่จะใช้เพราะจะทำ
ให้ไฟล์ pdf ของเรามีขนาดใหญ่
*/

$pdf->AddFont(‘AngsanaNew’,,‘angsa.php’);
$pdf->AddFont(‘AngsanaNew’,‘B’,‘angsab.php’);
$pdf->AddFont(‘AngsanaNew’,‘I’,‘angsai.php’);
//กำหนดแบบอักษร
$pdf->SetFont(‘AngsanaNew’,,18);
$pdf->Cell(0,10,‘ตัวอย่าง Font ภาษาไทย’);
$pdf->Ln(8);
$pdf->SetFont(‘AngsanaNew’,‘B’,20);
$pdf->Cell(0,10,‘Font ภาษาไทย AngsanaNew 20 ตัวหนา’);
$pdf->Ln(8);
$pdf->SetFont(‘AngsanaNew’,‘I’,25);
$pdf->Cell(0,10,‘Font ภาษาไทย AngsanaNew 25 ตัวเอียง’);$pdf->Output();
5) ผลการทดสอบ